นิทรรศการ Lenscape of The Land
นิทรรศการ Lenscape of The Land ผลงานโดย อธิวัฒน์ ศิลปเมธานนท์ (Atiwat Silpamethanont) จัดแสดงระหว่างวันที่ 7 มิถุนายน - 7 กรกฎาคม 2558 และจะมีพิธีเปิดในวันที่ มิถุนายน 2558 เวลา 19.00 น. ณ Soy Sauce Factory
Lenscape of The Land
at Soy Sauce Factory
By Atiwat Silpamethanont
Opening 7 june 2015 19:00Hr
open 7June - 7 July 2015
curator : Pisitakun KuantalaengIn the land before we invented the word “nation state,” a territory was created and divided by race or ethnicity which shares some mutual tradition, belief, including way of life. After the modern invention of “nation state” concept, the diversity of different ethic groups has been neglected or excluded by centralised development, and it has become a chronic problem from the past to present. Some ethnic minority groups are not considered being part of the nation, for example, Rohingya and Karen in Myanmar.
Atiwat Silpamethanont is a documentary photographer who went to record the life of Karen, the ethic group, in refugee camp and conflict areas in Myanmar. The Karen conflict is known as one of the longest civil wars in the world. Atiwat spent 3 years recording at the site; he has seen a survival tactics under the concept of nation state, and questioning the problem of reality in documentary photography which is far beyond the compare with the reality of what people are encountering everyday. The message and interpretation have to be viewed through people who are behind that images.
ในดินแดนก่อนที่เราจะเรียกกันว่า “รัฐชาติ” พรมแดนต่าง ๆ ถูกสร้างขึ้นและแบ่งแยกตามกลุ่มเชื้อชาติ หรือชาติพันธ์ ที่มีประวัติศาสตร์ประเพณี ความเชื่อ รวมถึงวิถีชีวิต ต่อมาภายหลังการสร้างมโนทัศน์สมัยใหม่ของความเป็นรัฐชาติ ความหลากหลายทางชาติพันธ์ถูกละเลยจนกลายเป็นปัญหาเรื้อร้ังตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ผู้คนที่ไม่ถูกนับรวมเป็นสัญชาติเดียวกันกับคนในรัฐชาตินั้นๆ เช่น ชาวโรฮิงญา กะเหรี่งที่อยู่ในประเทศพม่า
อธิวัฒน์ ศิลปเมธานนท์ เป็นช่างภาพสารคดีที่เข้าไปบันทึกชีวิตบางช่วงของชาติพันธุ์กระเหรี่ยงทั้งในพื้นที่ค่ายผู้อพยพ และพื้นที่ที่มีการสู้รบกันในเขตของประเทศพม่า ปัญหาความขัดแย้งนี้ถูกนับว่าเป็นหนึ่งในสงครามกลางเมืองที่ยาวนานที่สุดในโลก อธิวัฒน์ใช้เวลาบันทึกภาพทั้งหมดประมาณ 3 ปี จนทำให้เขาได้เห็นวีธีการเอาตัวรอดภายใต้ความเป็นรัฐชาติ การตั้งคำถามกับความจริงในภาพถ่ายเชิงสารคดีที่เทียบไม่ได้กับความเป็นจริงที่อยู่ในชีวิตของผู้คนที่อยู่รอบตัวเขา เนื้อหาและการตีความจึงเป็นสิ่งที่ต้องมองถึงผู้คนที่อยู่หลังภาพถ่ายนั้น