^ Back to Top

นิทรรศการ "Apopheniac"

นิทรรศการ "Apopheniac"

นิทรรศการ "Apopheniac" ผลงานโดย เซดริก อาร์โนลด์ (Cedric Arnold) จัดแสดงระหว่างวันที่ 26 มกราคม - 31 มีนาคม 2567 และจะมีพิธีเปิดในวันที่ 25 มกราคม 2567 เวลา 19.00 น. ณ West Eden Gallery

West Eden to exhibition new works from Cedric Arnold
Apopheniac, opens January 25th, 2023
West Eden ยินดีนําเสนอนิทรรศการ "Apopheniac" ที่จัดแสดงภาพถ่ายชุดใหม่ของคุณ เซดริก อาร์โนลด์
ตั้งแต่วันที่ 25 มกราคม 2567

West Eden ภูมิใจนําเสนอนิทรรศการ "Apopheniac" ที่จัดแสดงผลงานชุดใหม่ของ เซดริก อาร์โนลด์ ตั้งแต่วันที่ 25 มกราคม ถึงวันที่ 31 มีนาคม 2567 นี้ โดยนิทรรศนี้ได้เดินตามรอยการแสดงที่น่ายกย่องจากที่ได้ปรากฎในงาน Avignon (Maison Jean Vilar) ในปีพ.ศ. 2565, งาน Paris (Biennale de l’image Tangible) ในปีพ.ศ. 2566, และงาน Río de Janeiro Museu de Arte Moderna (Dobra film festival) ในปีพ.ศ. 2566

ศิลปิน เซดริก อาร์โนลด์ เริ่มริ่ สร้าร้งผลงานจากภาพถ่ายแบบเนกาทีฟในช่วงเริ่มต้นอาชีพนักถ่ายภาพวารสารศาสตร์ ผลงานของเขามักจะนําเสนอภาพถ่ายที่มีลักษณะโทนสีตรงข้ามกับความเป็นจริงและหักล้างสีต้นฉบับที่ผ่านทั้งกระบวนการเปลี่ยนแปลงกายภาพและทางเคมี โดยที่รูปแบบของภาพถ่ายจะถูกทําให้แปรเปลี่ยนและเลือนหายไปด้วยการใช้เยื่อไวแสงทางการถ่ายภาพ (photographic emulsion) ส่งผลให้ช่วงเวลาในรูปภาพขณะนั้นถูกสร้าร้งขึ้นใหม่และผสานให้เป็นหนึ่งเดียว และด้วยวิธีวิธีนี้เซดริก จึงได้ปลดปล่อยให้ผลงานของเขามีรูปแบบที่ไม่เคยปรากฎในที่ใดมาก่อน

ชื่อชื่นิทรรศการ "Apopheniac" ถูกปรับแต่งจากคําว่า "Apopheniac" ที่อธิบายถึงแนวโน้มของการเชื่อมโยงรูปแบบจากสิ่งที่ไม่มีความเกี่ยวพันกันหรือรืสิ่งที่เกิดขึ้นโดยไร้แบบแผน ไม่ว่าจะเป็นจากวัตถุหรือรืความคิด ในขณะที่มนุษย์ต้องการอธิบายความหมายและบอกเล่าเหตุการณ์ต่างๆ ในชีวิชีต เรากลับหลอมรวมช่วงเวลาที่ไม่สัมพันธ์กันขึ้นมา โดยความต้องการเหล่านี้ได้ส่งผลต่อเส้นแบ่งระหว่างโลกแห่งความเป็นจริงและโลกของจินตนาการให้ดูพร่ามัว แม้ว่าลัพธ์นี้จะถือเป็นความไม่ถูกต้อง ความผิดพลาด และข้อบกพร่องของมนุษย์เมื่อมองจากมุมมองแห่งเหตุและผล องค์ประกอบเหล่านี้กลับกลายเป็นเส้นทางลัดสําคัญในชีวิชีตของมนุษย์ ทั้งในโลกแห่งความเป็นจริง จิตใต้สํานึก ความเป็นจริงจากการตีความของมนุษย์ รวมไปถึงความบอบช้ำในจิตใจของเรา

ภายในนิทรรศการจะมีการแสดงผลงานชิ้นเด่นทั้งหมด 2 ชิ้น ได้แก่ ผลงานชื่อ "Inadvertent Icon II", 2020 และ "Apopheniac V", 2023 ที่ถูกนับว่าเป็นผลงานที่แสดงความเคารพต่อปรมาจารย์จิตรกรในอดีต เซดริค อาร์โนลด์ ศิลปินชาวอังกฤษ-ฝรั่งรั่เศส ได้เริ่มริ่ ต้นอาชีพชี ในฐานะนักสารคดีครั้งรั้แรกในเมืองเบลฟาสต์และกรุงลอนดอน
ก่อนที่เขาจะย้ายไปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในปี พ.ศ. 2544 โดยเขาได้ทํางานร่วมกับนิตยสารอย่าง Time Magazine, Sunday Times, HBO, Washington Post และอื่นๆ อีกมากมาย

เซดริค ได้ผสมผสานภูมิหลังด้านสารคดีของเขาเข้ากับการทดลองเพื่อสํารวจเรื่องราวที่เชื่อมโยงกับการรับรู้ของมนุษย์ ทั้งในเรื่องของกาลเวลา ความทรงจํา และความเป็นจริง ผ่านการผลงานภาพนิ่ง และเทคนิคการสร้างประสบการณ์เสมือนจริงด้วยภาพเคลื่อนไหวและการติดตั้งเสียงประกอบ ผลงานของเซดริคได้จัดแสดงอย่างกว้างขวางในระดับนานาชาติ รวมถึงในพิพิธภัณฑ์ Royal Ontario เมืองโตรอนโต ประเทศแคนาดา, พิพิธภัณฑ์ Museum aan de Stroom เมืองแอนต์เวิร์ป ประเทศเบลเยียม, ศูนย์วัฒนธรรมเอเชีย เมืองกวางจู ประเทศเกาหลีใต้, พิพิธภัณฑ์วิจิจิตรศิลป์เกาสง เมืองเกาสง ประเทศไต้หวัน และปัจจุบันนี้เขาพํานักอาศัยและทํางานในกรุงเทพฯ ประเทศไทย

เซดริกริ อาร์โร์นลด์
Apopheniac
พิธีเธีปิดนิทรรศการ: วันที่ 25 มกราคม 2567 ตั้งแต่ 19.00 - 22.00 น.
ระยะเวลานิทรรศการ: วันที่ 26 มกราคม - วันที่ 31 มีนาคม 2567
West Eden Gallery, 45/2 ซอยสุขุมวิทวิ 31
________________________________

West Eden is pleased to announce Apopheniac, an exhibition of new work by Cedric Arnold. On view from January 25th through March 31st 2024, the exhibition follows highly regarded shows in Avignon (Maison Jean Villar) 2022, Paris (Biennale de l’image Tangible) 2023, Río de Janeiro Museu de Arte Moderna (Dobra film festival), 2023

Arnold’s work begins with negatives from an earlier career as a photojournalist, appropriating the physical negative images and subverting their conventions through chemical and physical transformation. The altered and disappearing patterns in the photographic emulsion, blend moments together, re-script time and allow, through the flow of chemistry, for patterns to emerge where none might have ever existed.

The exhibition is titled Apopheniac, an invented word and condition derived from apophenia: the tendency to perceive a connection or meaningful pattern between unrelated or random things (such as objects or ideas). In an often desperate need to ascribe meaning and form a linear timeline of our lives, our narrating selves fuse together seemingly disjoined moments. This need for meaning often blurs the lines between reality and fiction. From the perspective of logic these are inaccuracies, human errors, glitches. Yet, they are a necessary shortcut to navigate both our outer and inner worlds, our subjective realities, our traumas.

Among the highlights of the exhibition are Inadvertent Icon, 2020, and Apopheniac V, 2023; both pieces, by chance, pay homage to the master painters of the past.

Cedric Arnold (UK/France) started his career as a documentarian first in Belfast and London, before moving to South East Asia in 2001, where he worked with the likes of Time Magazine, Sunday Times, HBO, Washington Post amongst many others.

He combines his documentary background with experimental practices to explore themes relating to human perception of time, memory and reality, working with photography, immersive video and sound installations. His work has been exhibited internationally including Royal Ontario Museum, (Toronto, Canada), MAS | Museum aan de Stroom, (Antwerp, Belgium), Asia Culture Center, (Gwangju, South Korea), Kaohsiung Museum of Fine Arts (Kaohsiung, Taiwan) He lives and works in Bangkok.

Cedric Arnold
Apopheniac
Opening Reception: January 25th 2024, 7 to 10pm
Exhibition Dates: January 26th to March 31st 2024
West Eden Gallery, 45/2 Sukhumvit 31

_________________________________

Apopheniac [not a word] >
From: Apophenia ap·o·phe·nia | \ ˌa-pə-ˌfē-nē-ə \ The tendency to perceive a connection or meaningful pattern between unrelated or random things (such as objects or ideas)
_________________________________

APOPHENIAC

หากอิงตามทฤษฎีของประสาทวิทยาศาสตร์ ความทรงจําของมนุษย์ไม่ได้เกิดจากการถูกเขียนไว้เพียงแค่หนึ่งครั้ง แต่จะถูกเรียบเรียงขึ้นใหม่ทุกครั้งเมื่อมนุษย์รําลึกถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่ง โดยในขณะที่มนุษย์เล่าประสบการณ์ชีวิตของ ตนเองพร้อมรําลึกถึงความทรงจําในอดีต เราได้เนรมิตรช่วงเวลาที่สําคัญ เปิดช่องโอกาสสําหรับเปลี่ยนแปลงเรื่องราว หรือแม้แต่ทําให้บางสิ่งจางหายไปจากความทรงจําของเรา

นิทรรศการ “Apopheniac” จะนําพาผู้ชมทุกท่านดําดิ่งไปสู่การเปลี่ยนแปลงของความทรงจํา ผ่านการใช้ภาพถ่ายแบบเนกาทีฟ (Photographic negative) เป็นสื่อหลัก โดยรูปภาพต่างๆ จะถูกตีความใหม่ผ่านการพร่ามัวของ ภาพ อีกทั้งรูปแบบของภาพถ่ายจะถูกทําให้แปรเปลี่ยนและเลือนหายไปด้วยการใช้เยื่อไวแสงทางการถ่ายภาพ (Photographic emulsion) ส่งผลให้ช่วงเวลาขณะนั้นถูกสร้างขึ้นใหม่และผสานให้เป็นหนึ่งเดียวในรูปภาพ พร้อม ผลงานรูปแบบใหม่ที่ได้ถือกําเนิดขึ้น

แม้ว่าผลงานจะถูกสรรค์สร้างผ่านกระบวนการทางเคมี ผลลัพธ์ของภาพที่ปรากฏมักสะท้อนถึงภาษาภาพของ ปัญญาประดิษฐ์ (AI) ออกมาโดยบังเอิญ นี่คือข้อพิสูจน์ว่าหากมนุษย์ไม่ได้สัมผัสกับผลงานที่สร้างจากเครื่องยนตร์มากขึ้น การบรรจบกันโดยไร้ความตั้งใจนี้อาจไม่มีผู้ใดสังเกตเห็นได้เลย เหนือกว่าสิ่งใด สิ่งเหล่านี้ได้ สะท้อนถึงประเด็นที่นักวิชาการ ฌอง โบดริยาร์ด ได้กล่าวถึงยุคสมัยปัจจุบันที่คล้ายกับการรับรู้ผ่านมุมมอง “ไฮเปอเรียล (Hyperreal)” ซึ่งว่าด้วยสถานที่แห่งความเป็นจริงและโลกจําลองที่ผสมกันจนไม่สามารถมองเห็นถึงความแตกต่างได้ เนื่องจากที่เส้นแบ่งระหว่างความจริงและเสมือนได้จางลง

ในดินแดนที่สารเคมีและภาษาทางด้านคอมพิวเตอร์ได้ไหลมาบรรจบกัน ความหลงใหลของมนุษย์ต่อการเชื่อมโยงรูปแบบผ่านสิ่งที่ไม่มีความเกี่ยวพันกันได้ปรากฏขึ้น และสานรวมทุกสิ่งให้เป็นหนึ่งเดียว

ณ ขณะที่มนุษย์ต้องการอธิบายความหมายและบอกเล่าเหตุการณ์ต่างๆ ในชีวิต เรากลับหลอมรวมช่วงเวลาที่ไม่ สัมพันธ์กันขึ้นมา โดยความต้องการเหล่านี้ได้ส่งผลต่อเส้นแบ่งระหว่างโลกความเป็นจริงและโลกแห่งจินตนาการ ให้ดูพร่ามัว แม้ว่าผลลัพธ์นี้จะถือเป็นความไม่ถูกต้อง ความผิดพลาด และข้อบกพร่องของมนุษย์เมื่อมองจากมุม มองแห่งเหตุและผล องค์ประกอบเหล่านี้กลับกลายเป็นเส้นทางลัดสําคัญในชีวิตของมนุษย์ ทั้งในโลกแห่งความ เป็นจริง จิตใต้สํานึก ความเป็นจริงจากการตีความของมนุษย์ รวมไปถึงความบอบช้ําในจิตใจของเรา

คําแถลงที่กล่าวมานี้ มีแรงบันดาลใจจากบทสนทนาของโมเดลปัญญาประดิษฐ์ชื่อ Chat GPT ที่พูดถึงความ คล้ายคลึงระหว่างความทรงจําเท็จของมนุษย์กับภาพหลอนของปัญญาประดิษฐ์ โดยโมเดลภาษาขนาดใหญ่นี้ได้เลือกใช้แหล่งข้อมูลอ้างอิงจากงานวิจัยของประสาทวิทยาศาสตร์ที่เรียบเรียงโดยห้องปฏิบัติการด้านประสาท วิทยาศาสตร์ที่มีชื่อเสียงที่สุดแห่งหนึ่งของโลก อย่างไรก็ตาม ทั้งงานวิจัยและผู้เขียนที่ปัญญาประดิษฐ์กล่าวถึงในบทสนทนาไม่ได้มีอยู่จริง

เซดริก อาร์โนลด์
ศิลปิน

APOPHENIAC

Neuroscience tells us that memories aren’t just written once; but rather, they are reconsolidated each time we remember them. As we tell ourselves our own story, and recall our past, we create critical moments, and opportunities for manipulation, perhaps even erasure.

Apopheniac explores this fluidity in the process of memory, using photographic negatives as raw material. The images are reinterpreted, by physically melting them. The altered and disappearing shapes in the photographic emulsion, blends moments together, re-scripts time and allows, through the flow of chemistry, for new patterns to emerge.

Though created through a chemical process, the resulting images often inadvertently echo the visual language of artificial intelligence. This unintended convergence might never have been noticed were it not for our ever increasing exposure to machine made visuals. It triggered a reflection on what Jean Baudrillard might have written about our era, as seen through the lens of the “Hyperreal”; where reality and simulation become indistinguishable, eroding the boundaries between the authentic and the fabricated.

Within this realm between chemistry and code, the apopheniac, a pattern obsessed being emerges and attempts to connect all things.

In an often desperate need to ascribe meaning and form a linear timeline of our lives, our narrating selves fuse together seemingly disjoined moments. This need for meaning often blurs the lines between reality and fiction. From the perspective of logic these are inaccuracies, human errors, glitches. Yet, they are a necessary shortcut to navigate both our outer and inner worlds, our subjective realities, our traumas.

This text was inspired by a conversation with Chat GPT, comparing human false memories to AI hallucinations. The large language model quoted research from a neuroscience paper produced by one of the most reputable neuroscience labs in the world. Neither the research paper nor the author actually exist.

Cedric Arnold
Artist
_________________________________

Cedric Arnold
b. 1976
British/French

เซดริค อาร์โนลด์ ศิลปินชาวอังกฤษ-ฝรั่งเศส ได้ เริ่มต้นอาชีพในฐานะนักสารคดีครั้งแรกในเมืองเบลฟาสต์และกรุงลอนดอน ก่อนที่เขาจะย้ายไป เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในปีพ.ศ. 2544 โดยเขาได้ทํางานร่วมกับนิตยสารอย่าง Time Magazine, Sunday Times, HBO, Washington Post และอื่นๆ อีกมากมาย

เซดริคได้ผสมผสานภูมิหลังด้านสารคดีของเขา เข้ากับการทดลองเพื่อสํารวจเรื่องราวที่เชื่อมโยงกับการรับรู้ของมนุษย์ ทั้งในเรื่องของกาลเวลา ความทรงจํา และความเป็นจริง ผ่านการผลงานภาพนิ่ง พร้อมเพิ่มเทคนิคการสร้างประสบการณ์ เสมือนจริงด้วยภาพเคลื่อนไหวและการติดตั้ง เสียงประกอบ ผลงานของเซดริคได้จัดแสดง อย่างกว้างขวางในระดับนานาชาติ รวมถึงใน พิพิธภัณฑ์ Royal Ontario เมืองโตรอนโต ประเทศแคนาดา, พิพิธภัณฑ์ Museum aan de Stroom เมืองแอนต์เวิร์ป ประเทศเบลเยียม, ศูนย์วัฒนธรรมเอเชีย เมืองกวางจู ประเทศ เกาหลีใต้, พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์เกาสง เมืองเกา สง ประเทศไต้หวัน และปัจจุบันนี้เขาพํานักอาศัย และทํางานในกรุงเทพฯ ประเทศไทย

Cedric Arnold (UK/France) started his carrier as a documentarian first in Belfast and London, before moving to South East Asia in 2001, where he worked with the likes of Time Magazine, Sunday Times, HBO, Washington
Post amongst many others.

He combines his documentary background with experimental practices to explore themes relating to human perception of time, memory and reality, working with photography, immersive video and sound installations. His work has been exhibited internationally including Royal Ontario Museum, (Toronto, Canada), MAS | Museum aan de Stroom, (Antwerp, Belgium), Asia Culture Center, (Gwangju, South Korea), Kaohsiung Museum of Fine Arts (Kaohsiung, Taiwan) He lives and works in Bangkok.

_________________________________

Contact

Marisa Audomphon - Client Relations
contact@westedenbkk.com
LINE: @westedenbkk
Th: 082-112-4421

Credit : Cedric Arnold
Credit : West Eden

ข่าวประชาสัมพันธ์ : West Eden Gallery

Artist: 
Exhibition date: 
26 Jan 2024 - 11:00 to 31 Mar 2024 - 18:00